ภูมิศาสตร์ภาคเหนือ
ทิศเหนือ อยู่ที่ละติจูด 20 องศาเหนือ27 ลิปดาเหนือ
ทิศใต้ อยู่ที่ละติจูด 17 องศาเหนือ 10 ลิปดาเหนือ
ทิศตะวันออก อยู่ที่ลองจิจูด 101องศา 10 ลิปดาตะวันออก
ทิศตะวันตก อยู่ที่ลองจิจูด 97 องศา 22 ลิปดาตะวันออก
ทิศใต้ อยู่ที่ละติจูด 17 องศาเหนือ 10 ลิปดาเหนือ
ทิศตะวันออก อยู่ที่ลองจิจูด 101องศา 10 ลิปดาตะวันออก
ทิศตะวันตก อยู่ที่ลองจิจูด 97 องศา 22 ลิปดาตะวันออก
ที่ตั้งสัมพันธ์ คือ
ทิศเหนือ ติดต่อกับสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ดินแดนที่อยู่เหนือสุดของภาคเหนือคือ อ.แม่สาย จ.เชียงราย
ทิศใต้ ติดต่อกับภาคกลาง และภาคตะวันตก ดินแดนที่อยู่ใต้สุดของภาคเหนือคือ อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ์
ทิศตะวันออก ติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ดินแดนที่อยู่ตะวันออกสุดของภาคเหนือคือ เทือกเขาเพชรบูรณ์ อ.ปัว จ.น่าน
ทิศตะวันตก ติดต่อกับสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า ดินแดนที่อยู่ตะวันตกสุดของภาคเหนือคือ อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน
ขนาด
ภาคเหนือมีเนื้อที่ทั้งหมด 93,691 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยพื้นที่ของ 9 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ และพะเยา เป็นภาคที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศไทย
ทิศเหนือ ติดต่อกับสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ดินแดนที่อยู่เหนือสุดของภาคเหนือคือ อ.แม่สาย จ.เชียงราย
ทิศใต้ ติดต่อกับภาคกลาง และภาคตะวันตก ดินแดนที่อยู่ใต้สุดของภาคเหนือคือ อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ์
ทิศตะวันออก ติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ดินแดนที่อยู่ตะวันออกสุดของภาคเหนือคือ เทือกเขาเพชรบูรณ์ อ.ปัว จ.น่าน
ทิศตะวันตก ติดต่อกับสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่า ดินแดนที่อยู่ตะวันตกสุดของภาคเหนือคือ อ.แม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน
ขนาด
ภาคเหนือมีเนื้อที่ทั้งหมด 93,691 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยพื้นที่ของ 9 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ และพะเยา เป็นภาคที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศไทย
ภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศ
ภาคเหนือมีลักษณะภูมิประเทศที่พื้นที่เป็นภูเขามากกว่าทุกภาค
ซึ่งเป็นร้อยละ 78 ของพื้นที่ทั้งหมดในภาคเหนือ
สามารถแบ่งเขตภูมิลักษณ์ได้ 3 เขต
1.เขตทิวเขาและภูเขา
2.เขตที่ราบและหุบเขา
3.เขตแอ่งที่ราบ
ซึ่งเป็นร้อยละ 78 ของพื้นที่ทั้งหมดในภาคเหนือ
สามารถแบ่งเขตภูมิลักษณ์ได้ 3 เขต
1.เขตทิวเขาและภูเขา
2.เขตที่ราบและหุบเขา
3.เขตแอ่งที่ราบ
ลักษณะภูมิประเทศทิวเขาและภูเขา
ทิวเขาแดนลาวเป็นทิวเขาทอดตัวยาวอยู่แนวตะวันตก-ตะวันออก กันพรมแดน ระหว่างไทยกับพม่า รวมความยาว 250 กิโลเมตร ยอดทิวเขาสำคัญ ดอยตุง สูง 1356 เมตร ดอยผ้าห่มปก 1456 สูง เมตร และ ดอยอ่าวขาง สูง 1918 เมตร เป็นที่กำเนิดแม่น้ำปิง
ทิวเขาถนนธงชัย
เป็นทิวเขาอยู่ทางทิศตะวันตก ทอดตัวยาวเหนือมาใต้ แนวระหว่าง ไทยกับพม่า วางตัวทอดลงมาในเขตแม่ฮ่องสอนและเชียงใหม่ มียอดเขา สูงสุดคือ ดอยดิอินทนนท์ สูง 2580 เมตร
เป็นทิวเขาอยู่ทางทิศตะวันตก ทอดตัวยาวเหนือมาใต้ แนวระหว่าง ไทยกับพม่า วางตัวทอดลงมาในเขตแม่ฮ่องสอนและเชียงใหม่ มียอดเขา สูงสุดคือ ดอยดิอินทนนท์ สูง 2580 เมตร
ทิวเขาผีปันน้ำ
เป็นทิวเขาที่ที่แบ่งน้ำเป็น2ทิศคือไหลสู่ทิศเหนือสู่แม่น้ำโขงทิศใต้ไหล สู่แม่น้ำปิง วัง ยม น่านมีความยาวทั้งหมด 475 กิโลเมตร มียอดเขาคือดอย แม่โถ สูง 1767 เมตร และดอยขุนตาล สูง 1348 เมตร
เป็นทิวเขาที่ที่แบ่งน้ำเป็น2ทิศคือไหลสู่ทิศเหนือสู่แม่น้ำโขงทิศใต้ไหล สู่แม่น้ำปิง วัง ยม น่านมีความยาวทั้งหมด 475 กิโลเมตร มียอดเขาคือดอย แม่โถ สูง 1767 เมตร และดอยขุนตาล สูง 1348 เมตร
ทิวเขาหลวงพระบาง
เป็นทิวเขาที่ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของภาคเหนือ เป็น พรมแดนกั้นไทยกับลาว มีความยาวทั้งหมด 50 5เมตร มียอด เขาสูงสุดคือภูเมียงอยู่ในประเทศลาว เป็นต้นกำเนิดแม่น้ำน่าน
เป็นทิวเขาที่ตั้งอยู่ด้านตะวันออกของภาคเหนือ เป็น พรมแดนกั้นไทยกับลาว มีความยาวทั้งหมด 50 5เมตร มียอด เขาสูงสุดคือภูเมียงอยู่ในประเทศลาว เป็นต้นกำเนิดแม่น้ำน่าน
ลักษณะภูมิประเทศที่ราบและหุบเขา
ที่ราบแม่น้ำปิง
เป็นแหล่งเพาะปลูกที่สำคัญของภาคเหนือ อยู่ในจังหวัดเชียงใหม่และลำพูน
ที่ราบแม่น้ำปิง
เป็นแหล่งเพาะปลูกที่สำคัญของภาคเหนือ อยู่ในจังหวัดเชียงใหม่และลำพูน
ที่ราบแม่น้ำวัง
เป็นแหล่งเพาะปลูกที่สำคัญอีกแล่งหนึ่งของาคเหนือ อยู่ในจังหวัดลำปาง
เป็นแหล่งเพาะปลูกที่สำคัญอีกแล่งหนึ่งของาคเหนือ อยู่ในจังหวัดลำปาง
ที่ราบแม่น้ำยม
เป็นอยู่ระหว่างทิวเขาผีปันน้ำ ในจังหวัดแพร่
เป็นอยู่ระหว่างทิวเขาผีปันน้ำ ในจังหวัดแพร่
ทีราบแม่น้ำน่าน
เป็นแล่งการเกษตรที่สำคัญของจังหวัดในภาคเหนือ คือจังหวัดน่านและอุตรดิตถ์
เป็นแล่งการเกษตรที่สำคัญของจังหวัดในภาคเหนือ คือจังหวัดน่านและอุตรดิตถ์
ที่ราบแม่น้ำยวน
เป็นแม่น้ำสายสั้นๆ อยู่ในเขตอำเภอขุนยวนอำเภอลาน้อย อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
เป็นแม่น้ำสายสั้นๆ อยู่ในเขตอำเภอขุนยวนอำเภอลาน้อย อำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ที่ราบแม่น้ำกก
เป็นราบลุ่มแคบๆ อยู่ในเขตอำเภอแม่อายจังหวัดเชียงใหม่ และอำเภอ เมืองเชียงราย อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
เป็นราบลุ่มแคบๆ อยู่ในเขตอำเภอแม่อายจังหวัดเชียงใหม่ และอำเภอ เมืองเชียงราย อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
ที่ราบแม่น้ำอิง
อยู่ติดกับที่รายแม่น้ำกก อยู่ในเขตอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย อำเภอเทิง จังหวัด แม่ฮ่องสอน
อยู่ติดกับที่รายแม่น้ำกก อยู่ในเขตอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย อำเภอเทิง จังหวัด แม่ฮ่องสอน
ที่ราบแม่เมย
เป็นเส้นพรมแดนก้นระหว่างไทยกับพม่า เป็นที่ราบแคบ เป็นที่ราบแคบๆในเขต อำเภอแม่สะเพียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
เป็นเส้นพรมแดนก้นระหว่างไทยกับพม่า เป็นที่ราบแคบ เป็นที่ราบแคบๆในเขต อำเภอแม่สะเพียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ที่ราบลุ่มแม่น้ำที่ไหลลงสู่แม่น้ำโขง
เป็นที่ราบแคบ อยู่ในจังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่
เป็นที่ราบแคบ อยู่ในจังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่
ลักษณะภูมิประเทศแอ่งที่ราบ
แอ่งแม่น้ำแจ่ม
เป็นแหล่งที่ราบขนาดใหญ่ตั้งอยู่ในอำเภอแม่แจ่ม
แอ่งแม่น้ำแจ่ม
เป็นแหล่งที่ราบขนาดใหญ่ตั้งอยู่ในอำเภอแม่แจ่ม
แอ่งแม่น้ำตื่น
เป็นที่ราบส่วนอยู่ส่วนใต้ของทิวเขาถนนธงชัยในจังหวัด เชียงใหม่ อำเภออมก๋อย
เป็นที่ราบส่วนอยู่ส่วนใต้ของทิวเขาถนนธงชัยในจังหวัด เชียงใหม่ อำเภออมก๋อย
แอ่งน้ำฝาง
เป็นที่ราบส่วนอยู่ส่วนใต้ของทิวเขาถนนธงชัยและด้านทิศ ตะวันตกทิวเขาผีปันน้ำ
เป็นที่ราบส่วนอยู่ส่วนใต้ของทิวเขาถนนธงชัยและด้านทิศ ตะวันตกทิวเขาผีปันน้ำ
แอ่งแม่งัด
เป็นที่ราบที่มีดินอุดมสมบูรณ์มาก ตั้งอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่
เป็นที่ราบที่มีดินอุดมสมบูรณ์มาก ตั้งอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่
แอ่งลำปาง
เป็นที่รายที่ยาวที่สุดของภาคเหนือ ตั้งอยู่ใหจังหวัดลำปาง
เป็นที่รายที่ยาวที่สุดของภาคเหนือ ตั้งอยู่ใหจังหวัดลำปาง
ภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศภาคเหนือมีลักษณะภูมิอากาศจัดอยู่ในเขตโซนร้อน แบบฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดูกาลอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของภาคเหนือประมาณ 25 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิสูงสุด ในเดือนเมษายนประมาณ 42 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่ำสุดในเดือนมกราคมประมาณ 15 องศาเซลเซียสปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 1,230 มิลลิเมตร/ปี โดยมีวันที่ฝนตกปีละประมาณ 110 วัน เขตที่มีฝนตกน้อยมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 800-1,000 มิลลิเมตร/ปี ส่วนเขตที่ฝนตกชุกจะมีปริมาณฝนสูงสุดถึง 2,000 มิลลิเมตร/ปี
ภาคเหนือได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม 2 ชนิด คือ
1.ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงกลางเดือนตุลาคม ไปจนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ และบางปีอาจเลยไปถึงกลางเดือนมีนาคม จะพัดเอาความหนาวเย็นจากประเทศจีนเข้าสู่ประเทศไทย จัดเป็นช่วงฤดูหนาวมีอากาศแห้งแล้ง
2.ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ในช่วงกลางเดือนพฤษภาคมจนถึงปลายเดือนกันยายน พัดพาเอาความชื้นจากบริเวณเส้นศูนย์สูตรจัดเป็นช่วงฤดูฝน
ภาคเหนือได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม 2 ชนิด คือ
1.ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วงกลางเดือนตุลาคม ไปจนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ และบางปีอาจเลยไปถึงกลางเดือนมีนาคม จะพัดเอาความหนาวเย็นจากประเทศจีนเข้าสู่ประเทศไทย จัดเป็นช่วงฤดูหนาวมีอากาศแห้งแล้ง
2.ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ในช่วงกลางเดือนพฤษภาคมจนถึงปลายเดือนกันยายน พัดพาเอาความชื้นจากบริเวณเส้นศูนย์สูตรจัดเป็นช่วงฤดูฝน
ทรัพยากรป่าไม้และพืชพรรณธรรมชาติ
จังหวัดที่มีป่าไม้มากที่สุดของภาคเหนือคือ จ.เชียงใหม่ 14,060 ตร.กม รองลงมาคือ จ.แม่ฮ่องสอน 8,763 ตร.กม จังหวัดที่มีป่าไม้หนา แน่นที่สุดคือ จ.เชียงใหม่ ( ร้อยละ 70.0 ของพื้นที่จังหวัด) จังหวัดที่มีป่าไม้เบาบางที่สุดคือ จ.เชียงราย (ร้อยละ 32.7 ของพื้นที่จังหวัด) ป่าไม้ใน ภาคเหนืออาจจำแนกตามลักษณะ ของพืชพรรณ ที่ขึ้นได้ดังนี้
1.ป่าเบญจพรรณ หรือเรียกว่า ” ป่าผสมผลัดใบ” หรือ “ป่าโปร่งผสม” มีถึงร้อยละ 46 ของพื้นที่ป่าไม้ทั้งหมดของภาคเหรือ ป่าเบญจ พรรณที่มีไม้สักขึ้นอยู่ทั่วไป เรียกว่า “ป่าสัก” ซึ่งมีอยู่ในทุกจังหวัดของภาคเหนือ (และรองลงมาถึงตากและกาญจนบุรี) ถ้าเป็นที่ราบหรือบริเวณเชิง เขาที่มีดินค่อนข้างแห้งหรือเป็นดินกรวดลูกรัง จะมีป่าแดงหรือป่าแพะ
2.ป่าดิบ ในภาคเหนือมีป่าดิบแล้ง พบตามที่ลุ่มชื้น ริมห้วย ลำธารและตามริมแม่น้ำใหญ่จนถึงระดับสูง 1,000 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลและมี ป่าดิบเขาใน ประเทศไทยมีอยู่ในภาคเหนือ ที่ระดับสูงกว่า 1,000 เมตรจากระดับน้ำทะเลขึ้นไป มีไม้จำปีและไม้เมืองหนาวขึ้นอยู่ทั่วไป เป็นพื้นที่ ๆ ถูก ถากถางเพื่อทำไร่เลื่อนลอย ซึ่งปัจจุบันได้มีการส่งเสริมการปลูกผักและผลไม้เมืองหนาว และให้ชาวไทยภูเขาทำการเกษตรอยู่กับที่
3.ป่าสนเขา ส่วนใหญ่พบอยู่บนเขาที่สูงเหนือระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 700 เมตรขึ้นไป ป่าสนที่ปรากฏอยู่ในภาคเหนือนั้น มีทั้งที่ขึ้นปะปนอยู่กับไม้ ชนิดอื่น เช่น รัง เต็ง เหียง พลวง หรือขึ้นเป็นป่าสนล้วน
จังหวัดที่มีป่าไม้มากที่สุดของภาคเหนือคือ จ.เชียงใหม่ 14,060 ตร.กม รองลงมาคือ จ.แม่ฮ่องสอน 8,763 ตร.กม จังหวัดที่มีป่าไม้หนา แน่นที่สุดคือ จ.เชียงใหม่ ( ร้อยละ 70.0 ของพื้นที่จังหวัด) จังหวัดที่มีป่าไม้เบาบางที่สุดคือ จ.เชียงราย (ร้อยละ 32.7 ของพื้นที่จังหวัด) ป่าไม้ใน ภาคเหนืออาจจำแนกตามลักษณะ ของพืชพรรณ ที่ขึ้นได้ดังนี้
1.ป่าเบญจพรรณ หรือเรียกว่า ” ป่าผสมผลัดใบ” หรือ “ป่าโปร่งผสม” มีถึงร้อยละ 46 ของพื้นที่ป่าไม้ทั้งหมดของภาคเหรือ ป่าเบญจ พรรณที่มีไม้สักขึ้นอยู่ทั่วไป เรียกว่า “ป่าสัก” ซึ่งมีอยู่ในทุกจังหวัดของภาคเหนือ (และรองลงมาถึงตากและกาญจนบุรี) ถ้าเป็นที่ราบหรือบริเวณเชิง เขาที่มีดินค่อนข้างแห้งหรือเป็นดินกรวดลูกรัง จะมีป่าแดงหรือป่าแพะ
2.ป่าดิบ ในภาคเหนือมีป่าดิบแล้ง พบตามที่ลุ่มชื้น ริมห้วย ลำธารและตามริมแม่น้ำใหญ่จนถึงระดับสูง 1,000 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลและมี ป่าดิบเขาใน ประเทศไทยมีอยู่ในภาคเหนือ ที่ระดับสูงกว่า 1,000 เมตรจากระดับน้ำทะเลขึ้นไป มีไม้จำปีและไม้เมืองหนาวขึ้นอยู่ทั่วไป เป็นพื้นที่ ๆ ถูก ถากถางเพื่อทำไร่เลื่อนลอย ซึ่งปัจจุบันได้มีการส่งเสริมการปลูกผักและผลไม้เมืองหนาว และให้ชาวไทยภูเขาทำการเกษตรอยู่กับที่
3.ป่าสนเขา ส่วนใหญ่พบอยู่บนเขาที่สูงเหนือระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 700 เมตรขึ้นไป ป่าสนที่ปรากฏอยู่ในภาคเหนือนั้น มีทั้งที่ขึ้นปะปนอยู่กับไม้ ชนิดอื่น เช่น รัง เต็ง เหียง พลวง หรือขึ้นเป็นป่าสนล้วน
แม่น้ำ
แม่น้ำสายสำคัญในภาคเหนือ แบ่งออกเป็น 3 พวก ได้แก่
1. พวกที่ไหลจากเหนือลงใต้ ได้แก่ แม่น้ำปิง แม่น้ำแจ่ม แม่น้ำตื่น แม่น้ำงัด แม่น้ำกวง แม่น้ำทา แม่น้ำวัง แม่น้ำจาง แม่น้ำยม แม่น้ำน่าน และแม่น้ำปาด
2. พวกที่ไหลจากใต้ขึ้นเหนือ ได้แก่ แม่น้ำอิง แม่น้ำลาว แม่น้ำกก แม่น้ำจัน และแม่น้ำลี้
3. พวกที่ไหลไปลงทางด้านพม่า ได้แก่ แม่น้ำเมย แม่น้ำยวม และแม่น้ำปาย ซึ่งไหลบรรจบกับแม่น้ำสาละวิน
ลักษณะนิสัยของชาวเหนือสังเกตได้จากภาษาพูด ซึ่งเป็นภาษาไทยท้องถิ่นที่มีความไพเราะอ่อนหวาน แสดงถึงความ สุภาพอ่อนโยนในจิตใจ ความโอบอ้อมอารี และความเป็นมิตร งานหัตถกรรมมากมายที่สร้างสรรค์เป็นข้าวของเครื่องใช้ และของที่ระลึกที่ได้รับความนิยมจนกลายเป็นสินค้าส่งออกที่นำรายได้เข้าประเทศนั้น ก็เป็นสิ่งหนึ่งที่สามารถบ่งบอกความ เป็นชาวไทยภาคเหนือได้เป็นอย่างดี
แม่น้ำสายสำคัญในภาคเหนือ แบ่งออกเป็น 3 พวก ได้แก่
1. พวกที่ไหลจากเหนือลงใต้ ได้แก่ แม่น้ำปิง แม่น้ำแจ่ม แม่น้ำตื่น แม่น้ำงัด แม่น้ำกวง แม่น้ำทา แม่น้ำวัง แม่น้ำจาง แม่น้ำยม แม่น้ำน่าน และแม่น้ำปาด
2. พวกที่ไหลจากใต้ขึ้นเหนือ ได้แก่ แม่น้ำอิง แม่น้ำลาว แม่น้ำกก แม่น้ำจัน และแม่น้ำลี้
3. พวกที่ไหลไปลงทางด้านพม่า ได้แก่ แม่น้ำเมย แม่น้ำยวม และแม่น้ำปาย ซึ่งไหลบรรจบกับแม่น้ำสาละวิน
ลักษณะนิสัยของชาวเหนือสังเกตได้จากภาษาพูด ซึ่งเป็นภาษาไทยท้องถิ่นที่มีความไพเราะอ่อนหวาน แสดงถึงความ สุภาพอ่อนโยนในจิตใจ ความโอบอ้อมอารี และความเป็นมิตร งานหัตถกรรมมากมายที่สร้างสรรค์เป็นข้าวของเครื่องใช้ และของที่ระลึกที่ได้รับความนิยมจนกลายเป็นสินค้าส่งออกที่นำรายได้เข้าประเทศนั้น ก็เป็นสิ่งหนึ่งที่สามารถบ่งบอกความ เป็นชาวไทยภาคเหนือได้เป็นอย่างดี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น